วันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2554

สเตียรอล และ สเตียโรลิน จากพืช สารอาหารมหัศจรรย์ในยุคปัจจุบัน ตอนที่2


เมื่อเร็วๆนี้งานวิจัยโดยศาสตราจารย์แพททริค บูอิค และคณะ แห่งคณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสเตลเลนบอช ซึ่งตีพิมพ์ใน International Journal of Immunopharmacology ได้นำเสนอวิธีใหม่ทางการแพทย์ในการรักษาโรคภูมิต้านทานตนเอง (auto-immune disease) และโรคเรื้อรังอื่นๆที่จะแสดงอาการขึ้นเมื่อผู้ป่วยถูกกระตุ้น ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ครั้งสำคัญที่เขารายงานนี้ได้รับความสนใจจากวงการวิทยาศาสตร์และการแพทย์อย่างท่วมท้น

ซิโตสเตียรอลช่วยในการเปลี่ยนกรดไลโนเลอิคเป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัว กระบวนการนี้จำเป็นสำหรับการเปลี่ยนกรดไขมันโอเมก้า 6 เป็นโพรสตาแกลนดินและลิวโคไทรอีน โพรสตาแกลนดินและลิวโคไทรอีนเป็นสารคล้ายฮอร์โมนที่ส่งเสริมการทำงานของภูมิคุ้มกัน ช่วยลดภาวะลิ่มเลือดหลุดอุดหลอดเลือด โดยการลดการรวมกลุ่มของเกล็ดเลือด และยังช่วยลดสารที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบด้วย

ซิโตสเตียรอลถูกเปลี่ยนแปลงในร่างกายเป็นเพร็กนีโนโลนได้ หลังจากนั้นจึงได้เป็นดีเอชอีเอและฮอร์โมนอื่นๆที่เป็นอนุพันธ์ของเพร็กนีโนโลนหรือสารอื่นๆที่โครงสร้างคล้ายกัน การผลิตดีเอชอีเอในมนุษย์จะลดลงด้วยอัตราคงที่เมื่ออายุมากขึ้น ดีเอชอีเอเป็นฮอร์โมนหลักที่ใช้สังเคราะห์เอสโทรเจน (ฮอร์โมนเพศหญิง), โพรเจสเทอโรน (ฮอร์โมนเพศหญิงอีกชนิดหนึ่ง), เทสทอสเทอโรน (ฮอร์โมนเพศชายชนิดหนึ่ง), คอร์ทิซอล และอื่นๆ เมื่ออายุ 70 ปี การผลิตดีเอชอีเออาจลดลงเหลือเพียง 10% หรือ 20% ของปริมาณที่พบเมื่ออายุ 20 ปี การเสริมซิโตสเตียรอลจึงน่าจะช่วยเสริมการทำงานของระบบต่อมไร้ท่อของผู้สูงอายุได้เป็นอย่างดีและทำให้อายุยืน

โรคภูมิแพ้ บรรเทาได้ด้วย ไฟโตเพล็กซ์

เรารับประทานอาหารที่มีสเตียรอลและ สเตียโรลินจากพืชเพียงพอหรือไม่ ?
เมื่อใดก็ตามที่รูปแบบการรับประทานอาหารผิดไปจากปกติ เช่น ใช้สูตรลดน้ำหนัก ไม่สบายเป็นเวลานาน หรือสูงอายุ เมื่อนั้นเราจะมีโอกาสขาดสเตียรอลจากพืชได้มากขึ้น ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันทำงานได้น้อยลง ในขณะที่สารเหล่านี้เป็นสารอาหารที่จำเป็นที่ทำให้ร่างกายมนุษย์ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อาหารในยุคปัจจุบันโดยทั่วไปกลับไม่นิยมผักและผลไม้สด จึงทำให้ซีรัมของเรามีระดับสเตียรอลต่ำเกินไป นอกจากนี้ สเตียรอลจากจืชยังจับอยู่กับเส้นใยพืชจึงย่อยยาก โดยเฉพาะผู้ที่ระบบย่อยอาหารมีประสิทธิภาพต่ำ เช่น ผู้สูงอายุ การรับประทานสเตียรอลจากพืชให้ได้วันละ 100 มิลลิกรัมนั้น เราต้องรับประทานผักและผลไม้สดถึงวันละ 500-700 กรัม (18-25 ออนซ์)

กระบวนการแปรรูปอาหารสมัยใหม่ทำให้สเตียรอลพืชในอาหารหลายชนิดถูกกำจัดไป เหลือแต่อาหารที่ขาดสเตียรอล การประกอบอาหารไม่ทำให้เสียสเตียรอลและสเตียโรลิน แต่น้ำเดือดอาจกำจัดสเตียโรลินออกไปบางส่วน การนำผักไปแช่แข็งอาจทำลายสเตียรอลพืชส่วนที่เป็นสเตียโรลินได้โดยการเกิดปฏิกิริยาที่อาศัยเอนไซม์ จึงทำให้อาหารมีสารอาหารจำเป็นเหล่านี้น้อยลง สัตว์มีสัดส่วนซิโตสเตียรอลและซิโตสเตียโรลินในซีรัมและเนื้อเยื่อต่อคอเลสเตอรอลสูงกว่ามนุษย์ การเลี้ยงสัตว์ด้วยการสังเคราะห์จะทำให้สัตว์ไม่ได้รับอาหารจากพืชและอาจทำให้ ปฏิกิริยาทางชีวเคมีผิดปกติและเกิดปัญหาสุขภาพที่ร้ายแรงตามมาได้

สเตียรอลและสเตียโรลินจากพืช ทำงานอย่างไร ?

ศาสตราจารย์บูอิค กล่าวไว้ว่า “สเตียรอลและสเตียโรลินเป็นโมเลกุลที่ช่วยระบบภูมิคุ้มกันในการต่อสู้กับการติดเชื้อได้อย่างแท้จริง ทีเซลล์ซึ่งเป็นส่วนที่สำคัญที่สุดของระบบภูมิคุ้มกันกัดเป็น maestro หมายความว่า เป็นตัวควบคุมระบบภูมิคุ้มกัน สเตียรอลและสเตียโรลินเป็นตัวกระตุ้นทีเซลล์ให้หลั่งสารที่ปรับการตอบสนองต่อการติดเชื้อออกมามากขึ้น”
เซลล์ 2 ประเภทหลักในระบบภูมิคุ้มกันเรียกรวมกันว่า เม็ดเลือดขาวลิมโฟไซต์ (lymphocyte) ซึ่งแบ่งเป็นชนิด บีเซลล์ และ ทีเซลล์ เมื่อร่างกายเผชิญกับสารก่อภูมิต้านทาน ซึ่งอาจเป็นแบคทีเรีย ไวรัส ปรสิต หรือโปรตีนแปลกปลอมอื่นๆ ร่างกายจะมีกลไกตอบสนองทำให้เกิดพัฒนาการของทีเซลล์จำเพาะขึ้น กลไกตอบสนองนี้อาศัยความช่วยเหลือของสารตัวกลางหลายตัวที่รู้จักกันในชื่อไซโตไคน์อินเตอร์ลูคินและสิมโฟไคน์ ไซโตไคน์ที่สำคัญมาก 2 ตัว คือ อินเตอร์ลูคิน 2 (IL2) และอินเตอร์ลูคิน 6 (IL6) IL2 เป็นสารที่ใช้ในการเจริญเติบโตของทีเซลล์ แต่มีฤทธิ์ทำลายทีเซลล์พิเศษบางชนิด (คือทีเซลล์ซึ่งเป็นพิษต่อเซลล์อื่น ซึ่งเรียกว่า cytotoxic cell) และเซลล์ชนิดแนชเชอเริลคิลเลอร์ (เซลล์ NK) ด้วย เซลล์ของผู้ป่วยโรคภูมิคุ้มกันอ่อนแอจะหลั่ง IL2 ผิดปกติ

ผู้ป่วยโรคภูมิต้านทานตนเองจะมีระดับ IL6 ในซีรัมสูงกว่าปกติ พบว่าผู้ป่วยต่อม BPH จะมีระดับ IL6 ในต่อมลูกหมากสูงและทำให้เทสทอสเทอโรนจับกับเนื้อเยื่อต่อมลูกหมากมากขึ้น

สารมหัศจรรย์มีอยู่ในพืชเหล่านี้

แกมมาอินเตอร์เฟียรอน (IFN) ยับยั้งการแบ่งตัวของไวรัสและกระตุ้นความสามารถในการทำลายเซลล์ของเซลล์ NK เซลล์ NK นี้เป็นพิษต่อเซลล์ที่ติดเชื้อไวรัสและเซลล์มะเร็งเป็นหลัก สเตียรอลและสเตียโรลินมีผลกระตุ้นการแบ่งตัวของเม็ดเลือดขาวลิมโฟไซต์ จึงเพิ่มการผลิต IL2, IFN และเซลล์ NK ในทางตรงกันข้าม ซิโตสเตียรอลมีผลต่อร่างกายคล้ายกับดีเอชเอ คือ ยับยั้งการหลั่ง IL6 และช่วยกำหนดปริมาณ Tumour Necrosis Factor (TNF) ซึ่งโดยทั่วไปจะทำหน้าที่ทำลายและส่งเสริมการอักเสบ

เพราะฉะนั้นประโยชน์หลักๆที่เกิดจากฤทธิ์ของสเตียรอลและสเตียโรลินต่อระบบภูมิคุ้มกันก็คือ ทำให้ IL2 และ IFN ชนิดแกมมา ทำงานได้มากขึ้น และลดการทำงานของ IL6 และ TNF ผลเหล่านี้เป็นการปรับสภาวะภูมิคุ้มกันและให้ผลทางการรักษาต่อพยาธิวิทยาของโรคทางภูมิคุ้มกัน



รายละเอียดเพิ่มเติม


PHYTO PLEX เสริมสร้างภูมิคุ้มกันและต้านการอักเสบทุกชนิด สูตรFOODMATRIX


Phyto Plex เสริมสร้างภูมิคุ้มกันและต้านการอักเสบทุกชนิด สูตรFoodMatrix


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น